PPT Katagana
![]() ![]() ![]() |
![]() ![]() ![]() |
|
|
![]() |
七夕祭り と 五色 の 短冊 Tanabata matsuri to Goshoku no tanzaku |
เทศกาลทานาบาตะ และ ใบเขียนคำอธิษฐานทั้ง 5 สี |
|
七夕祭り Tanabata matsuri เทศกาลทานาบาตะ จะตรงกับวันที่ 7 ของเดือนกรกฏาคมของทุกปี ซึ่งประเพณีมีที่มาจากประเทศจีน และมีตำนานคล้ายคลึงกัน เพียงแต่ตัวละครอาจจะเรียกแต่ต่างกัน ตามตำนานของญี่ปุ่นเป็นวันที่เทพธิดาทอผ้าโอริฮิเมะ (หรือ เจ้าหญิงทอผ้า) และเจ้าชายฮิโกโบชิ ที่เป็นคู่สามีภรรยากันแหวกข้ามทางช้างเผือกเพื่อมาพบกันได้เพียงปีละครั้งเท่านั้น ก็คือ วันที่ 7 ของเดือนกรกฏาคมของทุกปี |
ตำนานวันทานาบาตะ | ||||||||||||||||||||||||
https://www.youtube.com/watch?v=N0RBNMQCz3A |
||||||||||||||||||||||||
ขอบคุณภาพจาก OKLS สาขาเซ็นทรัลพลาซาศาลายา |
||||||||||||||||||||||||
เมื่อพูดถึงเทศกาลทานาบาตะ มีธรรมเนียมปฏิบัติที่ทำกันทั่วไป(ใน)ประเทศญี่ปุ่น คือ การเขียนคำอธิษฐานลงบนกระดาษที่เรียกว่า 短冊 tanzaku ทังสะคุ มีด้วยกัน 5 สี เมื่อเขียนคำอธิษฐานเสร็จ จะนำไปประดับไว้บนไม้ไผ่ เทศกาลทานาบาตะมีที่มาจากเทศกาล 乞巧奠 Kikkoden คิกโคเด็น ที่แปลว่า เทศกาลทานาบาตะ ซึ่งได้รับการถ่ายทอดมาจากประเทศจีน ซึ่ง ความหมายของสี 短冊 tanzaku ทังสะคุ ทั้ง 5 สี จะมีทฤษฎีห้าองค์ประกอบหยิน-หยางเป็นแนวคิดที่ว่าทุกสิ่งที่มีอยู่ในจักรวาลประกอบด้วยธาตุทั้ง 5 (ต้นไม้ ไฟ ดิน ทอง และน้ำ) | ||||||||||||||||||||||||
|
เรียนภาษาญี่ปุ่นกันเถอะ ตัวอย่างคำอธิษฐาน ตามสีใบทังสะคุ
|
||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
ขอบคุณข้อมูลอ้างอิง https://www.popalpha.co.jp/blog/post/hiragay/5_tanzaku https://wakuwaku-wadai.com/archives/26713.html |
![]() |
鏡開き Kagami biraki วันทุบคางามิโมจิ วันที่ 11 - 15 มกราคม |
![]() |
“鏡餅 Kagami mochi คางามิโมจิ” คืออะไร? |
鏡餅 Kagamimochi คางามิโมจิ คือ โมจิปั้น 2 ลูกซ้อนกันและวางส้ม 橙 daidai ไดได ไว้บนสุด เป็นเครื่องเซ่นไหว้พระเจ้าแห่งปี และเป็นเครื่องตกแต่งปีใหม่แบบญี่ปุ่น |
![]() โมจิที่ปั้นรูปกลมแบน วางซ้อนกัน 2 ขนาด ตั้งไว้เซ่นไหว้ในช่วงปีใหม่ ขอบคุณภาพจาก https://www.pakutaso.com |
“鏡開き Kagami biraki วันทุบคางามิโมจิ” คืออะไร? |
ระหว่างวันที่ 11-15 มกราคม ในแต่ละภูมิภาคของญี่ปุ่น (จัดขึ้นในวันเดียวกันของทุกปี) จะนำ “鏡餅 Kagami mochi คางามิโมจิ” ที่เซ่นไหว้ในช่วงปีใหม่ ซึ่งโมจิจะมีสภาพที่แข็งตัว คนญี่ปุ่นจะใช้ค้อนไม้ทุบให้แตก และแบ่งเป็นส่วนๆ นำไปประกอบอาหาร หรือนำไปใส่ซุป เป็นซุปโมจิร้อนๆ เป็นต้น คนญี่ปุ่นเชื่อว่า “鏡餅 Kagami mochi คางามิโมจิ” เป็นที่สถิตของเทพเจ้าแห่งปี หากได้รับประทานโมจินี้ จะโชคดีและได้รับพลังในการใช้ชีวิตอย่างมีความสุขตลอดปี |
เรียนภาษาญี่ปุ่นกันเถอะ
|
ขอบคุณข้อมูลอ้างอิง https://nihon-nenchugyoji.com/kagamibiraki/ |
![]() |
お正月 Oshougatsu ช่วงปีใหม่ วันที่ 1 - 3 มกราคม 2565 |
![]() |
|
ช่วงขึ้นปีใหม่ จะนับตั้งแต่วันที่ 1 ถึงวันที่ 3 ร้านค้า, โรงงาน, ธุรกิจต่างๆ จะปิดทำการ งดให้บริการต่างๆ โดยประกาศวันหยุดไว้ล่วงหน้า แอดมินเอาตัวอย่างประกาศหน้าร้านมาให้เรียนภาษาญี่ปุ่นกัน |
|
![]() ![]() |
|
休業 Kyuugyuu "การหยุดทำการ (ในวันหยุด)" | |
![]() |
|
店休日 Tenkyuubi "วันหยุดร้าน" | |
ครอบครัวต่างๆ จะฉลองด้วยอาหารมื้อพิเศษ เรียกว่า おせち料理 Osechi ryouri "อาหารโอเซจิ" มีลักษณะเป็นกล่องเบนโตะแต่จะพิเศษกว่าปกติตรงที่วัตถุดิบอาหารล้วนเป็นมงคลต่อชีวิต | |
![]() |
|
おせち料理 Osechi ryouri "อาหารโอเซจิ" | |
นอกจากนี้ผู้คนก็ต่างแต่งชุดกิโมโนที่สวยงดงาม และจะพากันไปวัดหรือศาลเจ้า เพื่อไหว้พระขอพรให้สุขภาพดี และมีความสุขตลอดปี | |
![]() |
|
นอกจากนั้นนำต้นสนหรือกิ่งสน 門松 Kadomatsu มาประดับวางไว้ที่หน้าบ้าน เพื่อเป็นสิริมงคลแก่ครอบครัวและประดับด้วยไม้ไผ่ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ที่หมายถึง ความซื่อตรง ชื่อสัตย์ เหมือนลำไผ่ มีความอ่อนน้อมแต่แข็งแรงเหมือนต้นไผ่ ซึ่งทนทานต่อสภาพอากาศ | |
![]() |
|
門松 Kadomatsu "ต้นสนหรือกิ่งสนที่ใช้วางประดับหน้าประตูตอนช่วงปีใหม่" | |
เรียนภาษาญี่ปุ่นกันเถอะ
|
|
ขอบคุณภาพจาก https://alco-uj.com/ https://wagaya-japan.com/ www.jalan.net https://cdn.roomclip.jp |
Textbook : Minna no nihongo 1
***หมายเหตุ Bunkei Renshuu เวอร์ชั่นเก่า บางหน้ามีเนื้อหาไม่เหมือนเวอร์ชั่น Minna no nihongo 1 [2nd Edition] วิชาการประเมินเบื้องต้นแล้วว่าสามารถใช้เป็นแบบฝึกหัดได้ ส่วนเวอร์ชั่น [2nd Edition] ทางวิชาการจะตรวจสอบและอัพเดทให้เร็วที่สุดนะคะ***
***เตือน!!!! สื่อการสอนที่ OKLS จัดทำขึ้นเพื่อให้คุณครูใช้ในOKLS เท่านั้น เอกสารหรือสื่อการสอนมีลิขสิทธิ์จากต้นฉบับ ขอความกรุณาคุณครูอย่านำไปใช้ประโยชน์ส่วนตัว ไม่ว่าจะเป็นเชิงพาณิชย์ที่อาจส่งผลกระทบต่อ OKLS***
ReviewL.1_L.9 | ReviewL.4_L.19 |
|
|
Textbook : Minna no nihongo 1
***หมายเหตุ Bunkei Renshuu เวอร์ชั่นเก่า บางหน้ามีเนื้อหาไม่เหมือนเวอร์ชั่น Minna no nihongo 1 [2nd Edition] วิชาการประเมินเบื้องต้นแล้วว่าสามารถใช้เป็นแบบฝึกหัดได้ ส่วนเวอร์ชั่น [2nd Edition] ทางวิชาการจะตรวจสอบและอัพเดทให้เร็วที่สุดนะคะ***
***เตือน!!!! สื่อการสอนที่ OKLS จัดทำขึ้นเพื่อให้คุณครูใช้ในOKLS เท่านั้น เอกสารหรือสื่อการสอนมีลิขสิทธิ์จากต้นฉบับ ขอความกรุณาคุณครูอย่านำไปใช้ประโยชน์ส่วนตัว ไม่ว่าจะเป็นเชิงพาณิชย์ที่อาจส่งผลกระทบต่อ OKLS***
Lesson 20 | Lesson 21 |
|
|
Lesson 22 | Lesson 23 |
|
|
Lesson 24 | Lesson 25 |
|
|
Textbook : Minna no nihongo 1
***หมายเหตุ Bunkei Renshuu เวอร์ชั่นเก่า บางหน้ามีเนื้อหาไม่เหมือนเวอร์ชั่น Minna no nihongo 1 [2nd Edition] วิชาการประเมินเบื้องต้นแล้วว่าสามารถใช้เป็นแบบฝึกหัดได้ ส่วนเวอร์ชั่น [2nd Edition] ทางวิชาการจะตรวจสอบและอัพเดทให้เร็วที่สุดนะคะ***
***เตือน!!!! สื่อการสอนที่ OKLS จัดทำขึ้นเพื่อให้คุณครูใช้ในOKLS เท่านั้น เอกสารหรือสื่อการสอนมีลิขสิทธิ์จากต้นฉบับ ขอความกรุณาคุณครูอย่านำไปใช้ประโยชน์ส่วนตัว ไม่ว่าจะเป็นเชิงพาณิชย์ที่อาจส่งผลกระทบต่อ OKLS***
Lesson 16 | Lesson 17 |
|
|
Lesson 18 | Lesson 19 |
|
|
Textbook : Minna no nihongo 1
***หมายเหตุ Bunkei Renshuu เวอร์ชั่นเก่า บางหน้ามีเนื้อหาไม่เหมือนเวอร์ชั่น Minna no nihongo 1 [2nd Edition] วิชาการประเมินเบื้องต้นแล้วว่าสามารถใช้เป็นแบบฝึกหัดได้ ส่วนเวอร์ชั่น [2nd Edition] ทางวิชาการจะตรวจสอบและอัพเดทให้เร็วที่สุดนะคะ***
***เตือน!!!! สื่อการสอนที่ OKLS จัดทำขึ้นเพื่อให้คุณครูใช้ในOKLS เท่านั้น เอกสารหรือสื่อการสอนมีลิขสิทธิ์จากต้นฉบับ ขอความกรุณาคุณครูอย่านำไปใช้ประโยชน์ส่วนตัว ไม่ว่าจะเป็นเชิงพาณิชย์ที่อาจส่งผลกระทบต่อ OKLS***
Lesson 12 | Lesson 13 |
|
|
Lesson 14 | Lesson 15 |
|
|
Textbook : Minna no nihongo 1
***หมายเหตุ Bunkei Renshuu เวอร์ชั่นเก่า บางหน้ามีเนื้อหาไม่เหมือนเวอร์ชั่น Minna no nihongo 1 [2nd Edition] วิชาการประเมินเบื้องต้นแล้วว่าสามารถใช้เป็นแบบฝึกหัดได้ ส่วนเวอร์ชั่น [2nd Edition] ทางวิชาการจะตรวจสอบและอัพเดทให้เร็วที่สุดนะคะ***
***เตือน!!!! สื่อการสอนที่ OKLS จัดทำขึ้นเพื่อให้คุณครูใช้ในOKLS เท่านั้น เอกสารหรือสื่อการสอนมีลิขสิทธิ์จากต้นฉบับ ขอความกรุณาคุณครูอย่านำไปใช้ประโยชน์ส่วนตัว ไม่ว่าจะเป็นเชิงพาณิชย์ที่อาจส่งผลกระทบต่อ OKLS***
Lesson 8 | Lesson 9 |
|
|
Lesson 10 | Lesson 11 |
|
|
Textbook : Minna no nihongo 1
***หมายเหตุ Bunkei Renshuu เวอร์ชั่นเก่า บางหน้ามีเนื้อหาไม่เหมือนเวอร์ชั่น Minna no nihongo 1 [2nd Edition] วิชาการประเมินเบื้องต้นแล้วว่าสามารถใช้เป็นแบบฝึกหัดได้ ส่วนเวอร์ชั่น [2nd Edition] ทางวิชาการจะตรวจสอบและอัพเดทให้เร็วที่สุดนะคะ***
***เตือน!!!! สื่อการสอนที่ OKLS จัดทำขึ้นเพื่อให้คุณครูใช้ในOKLS เท่านั้น เอกสารหรือสื่อการสอนมีลิขสิทธิ์จากต้นฉบับ ขอความกรุณาคุณครูอย่านำไปใช้ประโยชน์ส่วนตัว ไม่ว่าจะเป็นเชิงพาณิชย์ที่อาจส่งผลกระทบต่อ OKLS***
Lesson 4 | Lesson 5 |
|
|
Lesson 6 | Lesson 7 |
|
|
คำศัพท์เสริม
คำศัพท์เกี่ยวกับโรงเรียน |
คำศัพท์เกี่ยวกับบุคคลในโรงเรียน |
Textbook : Minna no nihongo 1
Lesson 1 ![]() |
Lesson 2 ![]() |
Lesson 3 ![]() |
Lesson 4 ![]() |
Lesson 5 ![]() |
Lesson 6 ![]() |
Lesson 7 ![]() |
Lesson 8 ![]() |
Lesson 9 ![]() |
Lesson 10 ![]() |
Lesson 11 ![]() |
Lesson 12 ![]() |
Lesson 13 ![]() |
Lesson 14 ![]() |
Lesson 15 ![]() |
Lesson 16 ![]() |
Lesson 17 ![]() |
Lesson 18 ![]() |
Lesson 19 ![]() |
Lesson 20 ![]() |
Lesson 21 ![]() |
Lesson 22 ![]() |
Lesson 23 ![]() |
Lesson 24 ![]() |
Lesson 25 ![]() |
Textbook : Minna no nihongo 1
***หมายเหตุ Bunkei Renshuu เวอร์ชั่นเก่า บางหน้ามีเนื้อหาไม่เหมือนเวอร์ชั่น Minna no nihongo 1 [2nd Edition] วิชาการประเมินเบื้องต้นแล้วว่าสามารถใช้เป็นแบบฝึกหัดได้ ส่วนเวอร์ชั่น [2nd Edition] ทางวิชาการจะตรวจสอบและอัพเดทให้เร็วที่สุดนะคะ***
***เตือน!!!! สื่อการสอนที่ OKLS จัดทำขึ้นเพื่อให้คุณครูใช้ในOKLS เท่านั้น เอกสารหรือสื่อการสอนมีลิขสิทธิ์จากต้นฉบับ ขอความกรุณาคุณครูอย่านำไปใช้ประโยชน์ส่วนตัว ไม่ว่าจะเป็นเชิงพาณิชย์ที่อาจส่งผลกระทบต่อ OKLS***
Greeting | Lesson 1 |
|
|
Lesson 2 | Lesson 3 |
|
|
แจ้งปัญหาเกี่ยวกับการเรียนการสอน กรุณากรอกแบบฟอร์มด้านล่างนี้
หัวข้อ | หน้าตามจริงใช้ค้นหา |
ระเบียบปฏิบัติของคุณครูสอนโรงเรียนในระบบ | 3 |
ระเบียบปฏิบัติของคุณครูสอนโรงเรียนในระบบกับฝ่ายต่างๆ ใน OKLS | 6 |
เอกสารสรุปงานปลายเทอมที่ต้องนำส่งฝ่ายวิชาการ OKLS | 8 |
สวัสดิการสำหรับคุณครูสอนโรงเรียนในระบบ | 12 |
เทคนิคการสอน | 16 |
ปฏิทินกิจกรรม ปีการศึกษา 2564 | 17 |
ประมวลภาพกิจกรรม OKLS | 21 |
แบบฟอร์มต่างๆ (สำหรับถ่ายเอกสาร) | 29 |
กลุ่มโรงเรียนที่ฝ่ายวิชาการรับผิดชอบ (ภาคเรียนที่ 1 ประจำปี 2564) | 37 |
ติดต่อ วิชาการ OKLS | 38 |
คลิปวีดีโอ |
ภาพถ่าย |
- สื่อการสอนขยับโดนใจ (1) ลงทะเบียน - สื่อการสอนขยับโดนใจ (2) แนะนำเครื่องมือ - สื่อการสอนขยับโดนใจ (3) scene 1 - สื่อการสอนขยับโดนใจ (4) scene 2 - สื่อการสอนขยับโดนใจ (5) scene 2 (ใส่เสียง) - สื่อการสอนขยับโดนใจ (6) scene 3 - สื่อการสอนขยับโดนใจ (7) scene 4 |
ติดตามใน Facebook
|
ผลงานครูภาษาญี่ปุ่นที่ได้รับการคัดเลือก ครูอ๋อ
|
ผลงานครูภาษาจีนที่ได้รับการคัดเลือก ครูดรีม
|
***เตือน!!!! สื่อการสอนที่ OKLS จัดทำขึ้นเพื่อให้คุณครูใช้ในOKLS เท่านั้น เอกสารหรือสื่อการสอนมีลิขสิทธิ์จากต้นฉบับ ขอความกรุณาคุณครูอย่านำไปใช้ประโยชน์ส่วนตัว ไม่ว่าจะเป็นเชิงพาณิชย์ที่อาจส่งผลกระทบต่อ OKLS***
Subject & Text book name |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
---|---|---|---|---|
การเรียน Hiragana & Katakana มีหนังสือที่ใช้ ดังนี้
|
|
|||
การเรียนเนื้อหาไวยากรณ์ รวมทุกทักษะ มีหนังสือที่ใช้ ดังนี้
|
|
|||
Minna no KANJI | ||||
JLPT N5 N4 N3 N2 | ||||
Marugoto A1 เพิ่มพูนความเข้าใจ | ||||
Marugoto A1 กิจกรรม | ||||
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับญี่ปุ่น และวัฒนธรรมญี่ปุ่น | ||||
เกมส์ | ||||
เพลง | ||||
คำศัพท์ |
หลักสูตรทั่วไปในโรงเรียน แบ่งออกเป็น 2 หลักสูตร ดังนี้
1) หลักสูตรรายวิชาหลักพื้นฐาน
2) หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม (วิชาภาษาญี่ปุ่นที่ OKLS เข้าไปจัดหลักสูตร)
> รายวิชาเพิ่มเติม ระดับประถมศึกษา / ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น/ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สถานศึกษาสามารถกำหนดรายวิชาเพิ่มเติมตามความพร้อม จุดเน้นของสถานศึกษา ความต้องการและความถนัดของผู้เรียน
โดยจัดเป็นรายปีและมีการกำหนดผลการเรียนรู้ของรายวิชานั้นๆ
การออกแบบการจัดการเรียนการสอน
> มีการออกแบบการจัดการเรียนการสอนให้บรรลุจุดมุ่งหมายและประสบความสำเร็จ โดยพิจารณา หลักการในการออกแบบการเรียนการสอน คือ
1. กำหนดกลุ่มเป้าหมาย > 1) นักเรียนเลือกเสรี มีคาบเรียน2-4 คาบ/สัปดาห์
2) นักเรียนศิลป์ภาษา มีคาบเรียน 5-8 คาบ/สัปดาห์
2. ต้องการให้ผู้เรียนเรียนอะไร มีความรู้ความเข้าใจ และ/หรือ มีความสามารถอะไร ผู้สอนจึงต้อง กำหนดจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอนให้ชัดเจน
2.1 นักเรียนเลือกเสรี มีคาบเรียน2-4 คาบ/สัปดาห์ > เรียนตัวอักษรภาษาญี่ปุ่น และ เนื้อหาการเรียนเน้นการสนทนา ความรู้ทั่วไปและวัฒนธรรมญี่ปุ่น สอนด้วยอักษรฮิระงะนะ และ คะตะคะนะ และ คันจิ โดยมีเสียงอ่านโรมันจิ
2.2 นักเรียนศิลป์ภาษา มีคาบเรียน 5-8 คาบ/สัปดาห์ > เรียนตัวอักษรภาษาญี่ปุ่น และ เนื้อหาการเรียนเน้นครบทุกทักษะ ฟัง พูด อ่าน เขียน สนทนา และ แปล รวมทั้งความรู้ทั่วไปและวัฒนธรรมญี่ปุ่น และติวสอบ PAT 7.3 และ และเมื่อนักเรียนจบระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 จะมีความรู้เทียบเท่า N4
3. ใช้วิธีการและกิจกรรมการเรียนรู้อะไรที่จะช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้เนื้อหาวิชานั้น ๆ ได้ดีที่สุด เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะวิชาการ – ความรู้พื้นฐาน ทักษะชีวิต – ทักษะงาน ทักษะอาชีพ - ความรู้เฉพาะทาง
3.1 ให้มีการจัดกิจกรรมในห้องเรียน ผลงานนักเรียนและ กรณีที่โรงเรียนมีกิจกรรมวิชา ให้คุณครูเข้าร่วมและสนับสนุนเป็นที่ปรึกษาให้นักเรียน
4. มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อทำให้ทราบผลของการจัดการเรียนการสอนบรรลุ จุดมุ่งหมายที่วางไว้หรือไม่
> การวัดและประเมินผล จะเป็นไปตามที่โรงเรียนกำหนด ขอให้คุณครูสอบถามโรงเรียนและทำความเข้าใจให้ชัดเจน
1. หลักสูตรรายวิชาหลักพื้นฐาน
2. หลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม (วิชาภาษาญี่ปุ่นที่ OKLS เข้าไปจัดหลักสูตร)
> รายวิชาเพิ่มเติม ระดับประถมศึกษา / ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น/ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สถานศึกษาสามารถกำหนดรายวิชาเพิ่มเติมตามความพร้อม จุดเน้นของสถานศึกษา ความต้องการและความถนัดของผู้เรียน
โดยจัดเป็นรายปีและมีการกำหนดผลการเรียนรู้ของรายวิชานั้นๆ
การออกแบบการจัดการเรียนการสอน
> ควรออกแบบการจัดการเรียนการสอนให้บรรลุจุดมุ่งหมายและประสบความสำเร็จ โดยพิจารณา หลักการในการออกแบบการเรียนการสอน คือ
1. กำหนดกลุ่มเป้าหมาย
2. ต้องการให้ผู้เรียนเรียนอะไร มีความรู้ความเข้าใจ และ/หรือ มีความสามารถอะไร ผู้สอนจึงต้อง กำหนดจุดมุ่งหมายของการเรียนการสอนให้ชัดเจน
3. ใช้วิธีการและกิจกรรมการเรียนรู้อะไรที่จะช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้เนื้อหาวิชานั้น ๆ ได้ดีที่สุด
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะวิชาการ – ความรู้พื้นฐาน ทักษะชีวิต – ทักษะงาน ทักษะอาชีพ - ความรู้เฉพาะทาง
4. มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน เพื่อทำให้ทราบผลของการจัดการเรียนการสอนบรรลุ จุดมุ่งหมายที่วางไว้หรือไม่